วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ภาพแสดงมวลน้ำเหนือ รร.นรต.และพื้นที่ใกล้เคียงวันอังคารที่ 15 พย.54 เวลา 21.00 น.

ภาพแรกเป็นภาพมุมสูง  ภาพที่สองเป็นภาพระยะใกล้ จะเห็นได้ว่า มีการแสดงมวลน้ำที่  พื้นที่ด้านหลัง รร.นรต. และแนวถนนที่มุ่งไปยังด้านประตู 4
                                                                                                                        พ.ต.ท.จักรกฤช  ชูคง  รอง ผกก.ฝ่ายปกครอง 1 บก.ปค.

วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

นักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ ๔ สอน นักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ ๑ - ๓


โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 9

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 8

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 7

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 6

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 5

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 4

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 3

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 2

โครงการ "นรต.ทำอีเอ็มบอลเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย" วิดีโอสาธิตการทำอีเอ็มบอล ส่วนที่ 1

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

"อีเอ็ม" EM คืออะไร????????

EM ย่อมาจากคำว่า Effective Microorganisms ซึ่งมีความหมายว่า กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ มีลักษณะเป็นของเหลว สีน้ำตาล กลิ่นหวานอมเปรี้ยว เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีชีวิต ไม่สามารถใช้ร่วมกับสารเคมีหรือ ยาปฏิชีวนะและยาฆ่าเชื้อต่าง ๆ ได้ ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น คน สัตว์ พืช และแมลงที่เป็นประโยชน์ ช่วยปรับสภาพความสมดุลของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ ที่ทุกคนสามารถนำไปเพาะขยายเพื่อช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
ทั้งนี้ EM Ball ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ ทั้งซากพืช ซากสัตว์ ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ประกอบไปด้วยก้อนจุลินทรีย์ธรรมชาติสามกลุ่ม คือ จุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลกติก ยีตส์ และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ซึ่งจะช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศ ช่วยย่อยตะกอนให้กลายเป็นอาหารของสัตว์เล็ก ๆ ช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ชนิดดีในน้ำทำให้เกิดการย่อยสลายที่มากขึ้น และเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำ ทำให้สภาพของน้ำสมดุล

คุณสมบัติบางประการและการเก็บรักษา
1. EM เป็นสิ่งมีชีวิต ต้องเก็บไว้ในที่ร่ม อุณหภูมิปกติ ไม่ร้อนจัดหรือเย็นจัด ประมาณ 20 – 45 องศาเซลเซียส หากไม่ได้เปิดใช้เก็บไว้ได้นาน 1 ปี
2. EM ไม่ใช่ปุ๋ย แต่เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่อยู่ในสภาพพัก การนำไปใช้หากเปิดใช้แล้วให้รีบปิด เก็บไว้ได้นาน 6 เดือน

จุลินทรีย์ใน EM คืออะไร
คำว่า จุลินทรีย์หรือแบคทีเรีย บางคนอาจเข้าใจว่าเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตามจุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิต EM (จุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก ยีสต์ และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง) ผลิตจากจุลินทรีย์ธรรมชาติ ไม่มีจุลินทรีย์ก่อโรค ไม่มีสารเคมีสังเคราะห์ และไม่ใช่การตัดต่อยีนส์ (GMOs) ซึ่งเป็นโทษต่อมนุษย์ สัตว์และพืช EM ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ปลอดภัยซึ่งใช้กันมาก่อนในสมัยโบราณจะโดยตั้งใจหรือ ไม่ตั้งใจก็ตาม จุลินทรีย์ใน EM มี 3 กลุ่ม ดังต่อไปนี้

1. "จุลินทรีย์ผลิตกรดแลกติก"
เป็นจุลินทรีย์ที่จัดอยู่ในพวกแบคทีเรียที่สามารถเปลี่ยน น้ำตาลให้เป็นกรดแลคติกได้โดยผ่านกระบวนการหมัก ซึ่งกรดแลกติกสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ก่อโรคบางชนิด และจุลินทรีย์อื่น ๆ ได้ เนื่องจากมี pH ที่ต่ำ เป็นที่รู้กันอย่างกว้างขวางว่ามีการนำเอาจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติกไปใช้ใน การหมักอาหารหลายชนิด เช่น เนยแข็ง โยเกิร์ต และสามารถเก็บไว้ได้นาน ตั้งแต่หลุยส์ ปาสเตอร์ ได้ค้นพบจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติกในปี พ.ศ.2400 ทำให้รู้ถึงประโยชน์ของมันที่เกี่ยวกับสุขภาพและการมีอายุยืนยาว เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีงานวิจัยที่พบว่า นอกจากมันจะอยู่ที่ลำไส้เล็กของคนแล้วมันยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดภูมิต้าน ทาน มีคุณสมบัติในการต่อต้านการสูญเสียโปรตีนในเลือด ต่อต้านการกลายพันธ์ โคเลสเตอรอลในเลือดต่ำ และการมีความดันโลหิตต่ำ
2. "ยีสต์"
เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นตัวตั้งต้นในการหมัก ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมักเบียร์หรือแอลกอฮอล์ และใช้ในการทำขนมปัง ยีสต์ค้นพบโดยพ่อค้าชาวดัทช์ ชื่อ แอนโทนี แวน ลีเวนฮุค (ในปี พ.ศ.2175 -2266) ซึ่งเป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรกในโลกเรื่องจุลินทรีย์ ยีสต์ถูกจำแนกเป็นสัตว์เซลเดียว ซึ่งแตกต่างจากเชื้อราเพราะมันจะอยู่เป็นเซลเดียวไปตลอดชีวิต ในโลกของจุลินทรีย์จะมีกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มเล็ก ๆ ที่มีความจำเป็นต่อชีวิตมนุษย์ ยีสต์จะมีอยู่มากในสิ่งแวดล้อมที่มีน้ำตาลมาก เช่น น้ำหวานจากเกสรดอกไม้ ตามผิวของผลไม้ ใน EM ยีสต์ผลิตจะสารชีวพันธ์ต่าง ๆ หรือสารที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต เช่น กรดอะมิโน และแป้ง
3. "จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง"
โฟโต้ทรอปฟิคแบคทีเรีย (เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง) เป็นแบคทีเรียโบราณที่เกิดมาก่อนการเกิดดาวเคราะห์โลกที่มีออกซิเจนหนา แน่นอย่างเช่นในปัจจุบัน จากชื่อของมันบ่งบอกให้รู้ว่ามันใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในการย่อยสลายสาร อินทรีย์และอนินทรีย์ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมีอยู่ตามนาข้าว ทะเลสาบ และทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้ ในทางปฏิบัติจะพบจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพนี้ตามทุ่งนาเพราะมันย่อยสลาย อินทรียวัตถุได้ดี ทั้งในการบำบัดน้ำเสียมีงานวิจัยที่รายงานเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ จุลินทรีย์นี้ ส่วนที่ใช้ในการเกษตร การเลี้ยงสัตว์น้ำ และการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป ภายใต้สภาพที่มีการผลิตไฮโดรเจนมันสามารถย่อยสลายสารต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงร่วมอยู่ในระบบย่อยต่าง ๆ และเป็นจุลินทรีย์หลักในวัฏจักรไนโตรเจนและวัฏจักรคาร์บอน เนื่องจากเป็นจุลินทรีย์หลักในวัฏจักรต่าง ๆ มันจึงทำงานร่วมกับจุลินทรีย์ใน EM ได้ ดังนั้นจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงจึงเป็นจุลินทรีย์ที่สำคัญใน EM


พันตำรวจโทจักรกฤช ชูคง
ผบ.ร้อย ฝ่ายปกครอง ๑ (กองร้อยที่ ๔)

วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ทำน้ำยาEM

วิธีทำน้ำ EM จากเปลือกสัปปะรด

1.เปลือกสัปปะรด 3 ส่วน

2.กากน้ำตาล 1 ส่วน

3.น้ำมะพร้าวสด 1 ส่วน

4.น้ำซาวข้าว 1 ส่วน

นำมาผสมคลุกเคล้าแล้วใส่ถังพลาสติกปิดด้วยผ้าขาวบาง  ปิดไว้ 10 วัน

 

การขยาย EM

1.-หัวเชื้อจุลินทรีย์ 1 ลิตร

2.-กากน้ำตาล 1 ลิตร

3.-น้ำสะอาด 18 ลิตร

4.-นำส่วนผสมทั้งหมดใส่ในถังหมักที่สะอาดปิดฝามิดชิด ไม่ให้มีอากาศเข้า-ออก มีช่องว่างของถังหมัก 20% เป็นเวลา 7 วัน แล้วจึงนำไปใช้

 

EM หมักน้ำซาวข้าว

-น้ำซาวข้าว 1 ส่วน

-EM 1-2 ช้อนแกง

-กากน้ำตาล 1-2 ช้อนแกงหรือน้ำตาลทรายแดง

 

วิธีการทำจุลินทรีย์บอล

ส่วนผสมที่ 1

1.-รำละเอียด 1 ส่วน

2.-แกลบป่นหรือรำหยาบ 1 ส่วน

3.-ดินทราย 1 ส่วน

ส่วนผสมที่ 2

1.- EM 10 ช้อนแกง

2.- กากน้ำตาล 10 ช้อนแกง

3.- น้ำสะอาด 10 ลิตร

    (ใช้ EM หมักน้ำซาวข้าวแทนส่วนผสมที่ 2 ก็ได้)

 

 

 

วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2554

แผนที่ รร.นรต. สำหรับวางแผนป้องกันน้ำท่วม

แผนที่ รร.นรต. สำหรับวางแผนป้องกันแนวน้ำท่วม

แนวขอบ รร.ทิศใต้ ติดแม่น้ำท่าจีน

มีการวางแนวป้องกัน

แสดงตำแหน่งน้ำท่วม จากเวปthaiflood

การระบายน้ำเข้าแก้มลิง รร.นรต. 300 ไร่

แนวทางการฝึกยอวาที

สรุปรายงานประจำวันจากโครงการชลประทานนครปฐม

 
 
จาก ว่าที่ พ.ต.ต.สุรศักดิ์ฯ

นรต.ชุด ชป.5 ทำแนวกั้นน้ำ (1)

นรต.ชุด ชป.5 ทำแนวกั้นน้ำ (2)

นรต.ชุด ชป.5 ทำแนวกั้นน้ำ (1)

แผนที่แสดงน้ำท่วมโดยรอบ รร.นรต.30ตุลาคม2554


วันศุกร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2554

น้ำระบายเข้าพื้นที่ แก้มลิง 300 ไร่ รร.นรต.

http://www.youtube.com/watch?v=Zxk6PyXY4V0


ส่งจาก iPod

สภาพน้ำที่แฟลตสัญญาบัตร

http://www.youtube.com/watch?v=sgv6d7eawf0


ส่งจาก iPod ของฉัน

จากเวป thaiflood เวลา0020วันที่29ตค54 ขณะนี้น้ำยังไม่ขึ้น

แผนที่แสดงน้ำในระยะใกล้ 28ตค54 19.20

วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ขนกระสอบทรายวางแนว28ตต54-10.00

ระบายน้ำลงสระ(แก้มลิง)28ตต54-10.00

ระดับน้ำริมอาคารดำรงราชานุภาพ28ตค54-10.00น.

สภาพแฟลตสัญญาบัตร รร.นรต.28 ตค54 1700

สภาพแฟลตสัญญาบัตร รร.นรต.28 ตค54 1700

ภาพจากกล้อง CCTV ดูภาพสดน้ำท่วมในเขตกรุงเทพมหานคร

http://hermes.traffy.in.th/i/showpics.php?cctvid=110


พันตำรวจโทจักรกฤช ชูคง

เวปไซด์เผยแพร่ภารกิจ นรต. http://policecadetlife.blogspot.com

วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ภารกิจ นรต.

ภาพ นรต.ช่วยบรรจุถุงทรายทำแนวป้องกันน้ำ

ทดสอบ

ทดสอบ001

ส่งจาก iPod ของฉัน

ข้อมูล การปฏิบัติ นรต.

รายงานภารกิจ 29 ตค 54 เช้า
-ชป.4 ภายนอก รร.นรต. ช่วยชุมชนครองนายหมก บรรจุถุงทราย ทำแนวกั้นน้ำ
        ภายใน รร.นรต. รอ พ.ต.อ.ถนอม และ พ.ต.อ.ฉลองเกียรติ กำหนดแนวป้องกันใน รร. ครับ


ข้อมูลเบื้องต้น จุลินทรีย์บอล ครับ  เป็น youtube

Check out this video on YouTube:

http://www.youtube.com/watch?v=EfSlD4VkEec&feature=youtube_gdata_player

แนวทางจัดทำเวป

แจ้งเวียนข้อมูลการปฏิบัติ นรต.